ภาคใต้ของประเทศไทยนัน ตังอยู่บนคาบสมุทรอินเดีย ถูกขนาบข้างไว้ ด้วยท้องทะเลอ่าวไทยทางฝังตะวันออก และทะเลอันดามันทางฝัง ตะวันตก มีเนื้อที่รวมประมาณ 70,715.2 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุม 14 จังหวัด ได้แก่ กระบี’ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี พ’งงา ฟ’ทลุง ภูเก็ต ยะลา ระนอง สงขลา สดูล และ สุราษฎร์ธานี โดยมีจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นจังหวัดที่ใหญ่ที่สุด ส่วน จังหวัดภูเก็ตนั้นเป็นจังหวัดที่เล็กที่สุด มีความยาวจากทิศเหนือจรดทิศ ใต้ประมาณ 750 กิโลเมตร ทุกจังหวัดของภาคใต้มีอาณาเขตติดทะเล ยกเว้นจังหวัดยะลาเพียงจังหวัดเดียว
แม้พื้นที่ของอุทยานฯ ภาคใต้ส่วนใหญ่จะเป็นท้องทะเลทั้งฝังอ่าวไทย และอันดามัน แต่ที่นี่ก็มีแนวเทือกเขาไม่ต่างจากภาคเหนือของประเทศ ไทยเลย มีเทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาภูเก็ต และเทือกเขา นครศรีธรรมราช เป็นเทือกเขาสำคัญ โดยมีเทือกเขาสันกาลาคีรี เป็น พรมแดนกั้นระหว่างประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย โดยทั้ง 4 เทือก เขาสำคัญของภาค’ใต้นี้ ถ้านำความยาวมารวมกันจะยาวถึงประมาณ 1,000 กิโลเมตร เลยทีเดียว และด้วยความสมชุเรณ์และแนวเทือกเขาที่ ทอดยาว ยังเป็นต้นนั้าลำธารของแม่น้ำลายสำคัญ ทั้งแม่น้าพุมดวง แม่น้ำตาปี แม่น้ำปัตตานี แม่น้าท่าทอง แม่น้ำตะกั่วปา แม่น้า ปากพนัง และแม่น้ำตรัง
สำหรับพื้นที่ราบที,สสับกับภูเขาสลับซับซ้อน และท้องทะเลนั้น แบ่ง เป็นพื้นที่ราบบนฝัง และพื้นที่ราบริมชายหาด โดยชายหาดฝังทะเล อ่าวไทยนั้นเกิดจากการยกตัวสูงขึ้นของพื้นทราย ทำให้ที่ราบชายฝัง ทะเลยาวเรียบกว้าง และน้ำทะเลค่อนข้างตื้น เหมาะกับการทำ กิจกรรมชายหาดและเล่นน้ำ สวนพื้นที่ราบริมชายหาดฝังทะเล อันดามันนั้น ลักษณะของชายฝังยุบตื้นลง ทำให้มีพื้นที่ที่ราบริมหาด ค่อนข้างน้อย แนวชายหาดลักษณะเป็นเว้าแหว่งคล้ายอ่าว มีหน้าผา หินยู่นสูงซันตั้งอยูริมชายหาด ส่วนชายหาดขาวสะอาดเม็ดละเอียดนั้น จะสลับกับโขดหินและป่าโกงกาง
พื้นที่ของอุทยานฯ ภาคใต้ส่วนใหญ่ จะมีสภาพอากาศค่อนข้างร้อน แต่เพราะได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม ทำให้ฝนตกชุกตลอดทั้งปี โดยฤดู ฝนของภาคใต้นั้นจะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนกันยายน เป็นลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ที,จะทำให้เกิดฝนตกและคลื่นลมแรง ทางฝังทะเลอันดามัน และระหว่างเดือนพฤศจิกายนจนถึงกุมภาพันธ์ จะได้รับอิทธิพลลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้ฝังทะเลอ่าวไทย เกิดคลื่นลมแรง อุทยานฯ ภาคใต้จึงมีเพียง 2 ฤดูหลักๆ คือฤดูร้อน กับ ฤดูฝน แต่ในฤดูฝนบนยอดเขาสูงของอุทยานฯ ภาคใต้ ก็ยังมีสภาพ อากาศหนาวเย็นรอให้คุณได้ท้าลมหนาวอยู่
การมาเที่ยวอุทยานฯ ภาคใต้ ไม่ได้มีเพียงความงามทางธรรมชาติให้ ชื่นชมเพียงอย่างเดียวเท่านั้น บางอุทยานฯ ตั้งอยู่ใกล้ชิดชุมชน คุณก็ สามารถเข้าไปสัมผัสวิถีชีวิตชุมชนได้อย่างง่ายดาย ไม,ว่าจะเป็น ศิลปการแสดง ที,บางชุมชนยังอนุรักษ์หนังตลุง มโนราห์ เพลงบอก เพลงนา ลิเกปา กาหลอ ร็องเง็ง สิละ กรีอโต๊ะ ฯลฯ ไว้อย่างเหนียวแน่น เช่นเดียวกับอาหารใต้ที่เหมาะสำหรับคนชอบรสจัดมาก คุณสามารถเดินเข้าไปนั่งชิมร่วมกับชุมชนชาวบ้านที่เป็นมิตรได้เลย มีทั้งแกงเหลือง แกงไตปลา แกงล้ม น้ำยาปักษ์ใต้ น้าพริกกุ้งเสียบ น้าพริก กะปิ ข้าวยำ มูดูหลน ไก่กอ รวมทั้งอาหารทะเลสดๆ ที่ชาวบ้านส่วนใหญ่ ทำการประมงกันเป็นหลัก
จะดีลักเพียงไหนถ้าทริปการเที่ยวอุทยาน’ฯ ภาคใต้ของคุณ ยังได้ออก ทะเลตั้งแต่เข้าตรู่ไปวางอวนดักกุ้งดักปลาร่วมกับชาวบ้าน ยามเย็นย่ำก็ได้ ออกเรือไปตกหมึก แถมยังได้ปิงทานกันสดๆ อีกต่างหาก รับรองว่าทริป เที่ยวครั้งนั้นจะเต็มไปด้วยความประทับใจอย่างแน่นอน
หลังจากได้ลงทะเลกันแล้ว บางอุทยานฯ ที่มีพื้นที่บนขุนเขาโดดเด่นทั้ง เล้นทางเดินปาชมบัวผุด ดอกไม้ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยที่หาดูชมได้ที่อุทยานฯ เขาสก และอุทยานฯ คลองพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี หรือทางเดินปาซมกล้วยไม้และยังได้ชมวิถีชีวิตของชาวซาไก หรือเงาะชนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่ตามปาเขา ที่อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง อำเภอ บันบังสตา และอำเภอเบตง ในจังหวัดยะลา
เห็นแบบนี้แล้วใครจะว่าคนภาคใต้ใจร้าย ไม่อ่อนโยนเหมือนคนภาคเหนือ นั้นคงไม่ได้แล้ว แม้คนภาคใต้จะไม่นุ่มนวลเท่า แต่ก็มีแต่ความ’จริงใจ และความรักที่มีให้อย่างเต็มใจ ลองมาเทียวอุทยานฯ ภาคใต้ดูสักครั้ง เดินปาไปกับเจ้าหน้าที่อุทยานฯ เที่ยวชมวิวทิวทัศน์ปาเขา น้ำตก โถงถ้ำ และวิวหมู่เกาะกลางทะเลงดงาม แล้วคุณจะด้นพบว่าความงามทาง ธรรมชาติบางครั้ง ไม่ได้ขึ้นอยู่กับช่วงเวลาที่เหมาะสม แต่ขึ้นอยู่กับผู้ร่วมเดินทางต่างหาก มาลัมผัสความประทับใจเหล่านี้ที่อุทยานฯ ภาคใต้ของ ประเทศไทยดูสักครั้ง แล้วคุณจะเว่า ความสวยงามของอุทยานฯ ภาคใต้ นั้นสวยงามกว่าที่คุณเห็นในภาพเป็นไหนๆ
ล่องใต้
นับเป็นความโชคดีของประเทศไทยที่เป็นเมืองวิเศษมีแหล่ง ท่องเที่ยวสวยๆ มากมาย จะขึ้นเหนือล่องใต้ล่องเรือดำน้ำ หรือ ปีนเขาชมวิว ก็ล้วนสามารถทำได้เกือบตลอดทั้งปี เหมือน อย่างทริปเที่ยวอุทยานฯ ภาคใต้ครั้งนี้ ที่แม้อุทยานฯ ทาง ทะเลบางแห่งจะไม่สามารถเที่ยวดำนํ้าได้ในฤดูที่มีลมมรสุม พัดผ่าน แต่บนเกาะ หรือบนฝังก็ยังมีสถานที่หลากหลาย ไม่ว่า จะเป็นนํ้าตก หรือโถงถํ้าสวย เห็นแบบนี้แล้วก็ไม่ต้องกังวล เลยว่าจะเที่ยวไม่ใต้ ยิ่งปัจจุบันเส้นทางคมนาคมในการเข้า อุทยานฯ ก็แสนสะดวกสบาย ถนนลาดยางเกือบหมด บางห่างอาจต้องใช้รถ 4 WD บ้างก็ไม่หนักหนา แถมทุก อุทยานฯ ทางทะเล ก็มีท่าเทียบเรือที่มืเรือให้บริการตลอดทั้ง วันอีกด้วย เท่านี้ก็เหลือแค่เลือกจุดหมายปลายทางให้ถูก เตรียมร่างกายให้พร้อม ก็เที่ยวใต้สบายแล้ว
เครื่องบิน
หากคุณมีเวลาในการพักผ่อนไม่มากนัก ประกอบกับเป็นคนชอบการ เดินทางแบบสะดวกและรวดเร็ว การนั่งเครื่องบินเพียงชั่วอึดใจจะ ช่วยประหยัดเวลา และยืดระยะเวลาการเที่ยวของคุณได้เพิ่มขึ้น สอบถามรายละเอียดเที่ยวบินได้ที่
ให้บริการเที่ยวบินล่องใต้หลายเส้นทาง เช่น นครศรีธรรมราช หาดใหญ่ ภูเก็ต กระบี่ ตรัง
เดินทางเที่ยวใต้โดยรถยนต์ส่วนตัว
หลังจากเลือกจุดหมายปลายทางได้แล้ว คุณก็ควรตรวจสอบข้อมูล เบื้องต้นของอุทยานฯ ภาคใต้ แห่งนั้นก่อนว่าสามารถขับรถยนต์ ส่วนตัวไปไหวหรือไม่ ถนนลาดยางหรือเปล่า หรือมีเรือเฟอร์รี่ให้เอา รถลงข้ามน้ำข้ามทะเลไปเที่ยวอุทยานฯ ต่อได้หรือเปล่า หากตรวจ ลอบเรียบร้อยแล้ว ก็แค่เซ็ครถแล้วขับรถไปตาม ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) เริ่มต้นจากจังหวัดนครปฐม สิ้นสุด เล้นทางที่ด่านจังโหลน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ชายแดนไทย- มาเลเชีย เล้นทางสายนี้เป็นเล้นทางหลักในการเดินทางสู่ภาคใต้ โดยจะผ่านจังหวัดราชบุรี และเลาะเลียบชายฝังทะเลตั้งแต่เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง พังงา กระบี่ ตรัง พัทลุง สงขลา และ สตูล รวมระยะทางทั้งสิ้นประมาณ 1,285 กิโลเมตร
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนสายเอเชีย) เล้นทางสายนี้ เริ่มต้นจากสี่แยกปฐมพร จังหวัดชุมพร ผ่านจังหวัดชายฝังในภาคใต้ ฝั่งอ่าวไทยคือ อำเภอสวี อำเภอทุ่งตะโก อำเภอหลังสวน อำเภอ ละแม จังหวัดชุมพร ผ่านจังหวัดสุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และ พัทลุง รวมระยะทางประมาณ 380 กิโลเมตร ก่อนจะเชื่อมกับทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 4 (ถนนเพชรเกษม) อีกครั้งที่อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง
รถโดยสารประจำทาง
หากคุณไม่อยากเหนื่อยล้ากับการขับรถระยะทางไกลๆ และต้องการ ประหยัดเงินไว้สำหรับเที่ยวโดยเฉพาะ การเลือกใช้บริการรถโดยสาร ประจำทางก็เหมาะสมเป็นอย่างยิ่ง ติดต่อสอบถามที่
- สถานีขนส่งผูโดยสารกรุงเทพฯ (หมอชิต) โทรศัพท์ 0 2936 2852-66, 0 2936 2963
บริษัท ขนส่ง จำกัด โทรศัพท์ 0 2936 1972
- สถานีขนส่งผูโดยสารกรุงเทพฯ (สายใต้) โทรศัพท์ 0 2435 1199, 0 2435 1200
บริษัท ขนส่ง จำกัด โทรศัพท์ 0 2435 5605
- สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (เอกมัย) โทรศัพท์ 0 2391 2504, 0 2391 6846
บริษัท ขนส่ง จำกัด โทรศัพท์ 0 2391 8097 หรือ www.transport.co.th รถไฟ